ผู้บริหารต้องยึดถือหัวใจของประชาธิปไตย 4 ประการ ดังนี้
อิสรภาพ หมายถึง การเปิดโอกาสให้ครูแต่ละคนสามารถพัฒนาบุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถและความมุ่งหวังได้ โดยผู้บริหารไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวมากนัก
เสรีภาพ หมายถึง ให้บุคคลแต่ละคนมีเสรีภาพในการกระทำที่ไม่ขัดต่อกฏหรือความเรียบร้อยของส่วนรวม
ความเสมอภาค หมายถึง บุคคลทุกคนย่อมมีสิทธิและโอกาสเท่าเทียมกัน
ภราดรภาพ หมายถึง การอยู่ร่วมกัน ความสามัคคีกลมเกลียวกัน
หัวใจประชาธิปไตย ประกอบด้วย 3 ธรรม ดังนี้
ปัญญาธรรม คือ การเคารพในความคิดเห็นของกันและกัน
คารวธรรม คือ การเคารพให้เกียรติซึ่งกันและกันในด้ายวัยวุฒิ
สามัคคีธรรม คือ มีความรักใคร่ สามัคคี ยึดมั่นในส่วนรวมเป็นสำคัญ
วันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
วันพุธที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
หลักการพูดครองใจคน
หลักการพูดครองใจคน
- พุดแต่ดี
- มีประโยชน์
- ผุ้ฟังชื่นชอบ
- ทุกคนไม่เสียหาย
เอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ทำให้คนจดจำได้
- น้ำเสียง
- ลีลาการพุด
- คำพูดหรือประโยคเฉพาะตัว
- การแต่งกาย เครื่องประดับ
- ท่าทาง
- ทรงผม
- หน้าตา หรือ อวัยวะที่โดดเด่น
- ผิวพรรณ
- อารมณ์ขัน
- พุดแต่ดี
- มีประโยชน์
- ผุ้ฟังชื่นชอบ
- ทุกคนไม่เสียหาย
เอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ทำให้คนจดจำได้
- น้ำเสียง
- ลีลาการพุด
- คำพูดหรือประโยคเฉพาะตัว
- การแต่งกาย เครื่องประดับ
- ท่าทาง
- ทรงผม
- หน้าตา หรือ อวัยวะที่โดดเด่น
- ผิวพรรณ
- อารมณ์ขัน
วันจันทร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
บัญญัติ 10 ประการในการสอนคิด
อรพรรณ พรสีมา ได้นำเสนอบัญญัติ 10 ประการในการสอนคิด ไว้ดังนี้
1.ใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กคิด และสร้างความสนใจใฝ่รู้ กระตือรือร้นที่จะแสวงหาคำตอบอยู่เสมอ
2.เปิดโอกาสให้เด็กแสดงความคิดเห็น ได้ใฃ้จินตนาการ โดยใช้สถานการณ์จำลอง หรือคำถามประเภท ถ้า....แล้วอะไรจะเกิดขึ้น
3.เปิดโอกาสให้เด็กทำกิจกรรม ทั้งกิจกรรที่ทำคนเดียวและทำเป็นกลุ่ม การทำกิจกรรมเดี่ยวจะช่วยให้เด็กได้ไตร่ตรอง ทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่ทำอย่างรอบคอบ ในขณะที่การทำกิจกรรมกลุ่ม จะช่วยให้เด็กมีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ทำให้มีความคิดกว้างไกลขึ้น
4.ให้เด็กได้ฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่มจากทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ขั้นกลางและขั้นสูง
5.ควรกระตุ้นและเสริมแรงเป็นระยะๆ เพื่อคงระดับความสนใจใฝ่รู้ของเด็กและช่วยให้มีความตั้งใจจริงในการพัฒนาทักษะการคิด
6.ผู้ใหญ่ควรรับฟังความคิดเห็นของเด็กด้วยความตั้งใจเพื่อเป็นการเสริมแรงให้กับเด็กอีกทางหนึ่งและเป็นแบบอย่างของนักฟังที่ดี
7.ควรใช้วิธีชี้แนะ การกระตุ้นที่เหมาะสมแทนการบอกคำตอบที่ถูกต้องทันทีทันใด
8.สร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อช่วยให้เด็กวู้สึกอบอุ่น มั่นใจและกระตือรือร้น เช่น ครูยิ้มแย้มแจ่มใส ใจดี รักเด็ก เป็นต้น
9.จัดแสดงสื่อและอุปกรณ์การคิดหลากหลายประเภทและมีปริมาณเพียงพอ เปิดโอกาสให้เด็กเข้าถึงสื่อและอุปกรณ์ได้ง่ายและสะดวก
10.จัดตกแต่งบอร์ดหรือผนังห้อง มีคำถามเตือนใจ มีที่แสดงผลงานทางความคิดของเด็ก
1.ใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กคิด และสร้างความสนใจใฝ่รู้ กระตือรือร้นที่จะแสวงหาคำตอบอยู่เสมอ
2.เปิดโอกาสให้เด็กแสดงความคิดเห็น ได้ใฃ้จินตนาการ โดยใช้สถานการณ์จำลอง หรือคำถามประเภท ถ้า....แล้วอะไรจะเกิดขึ้น
3.เปิดโอกาสให้เด็กทำกิจกรรม ทั้งกิจกรรที่ทำคนเดียวและทำเป็นกลุ่ม การทำกิจกรรมเดี่ยวจะช่วยให้เด็กได้ไตร่ตรอง ทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่ทำอย่างรอบคอบ ในขณะที่การทำกิจกรรมกลุ่ม จะช่วยให้เด็กมีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ทำให้มีความคิดกว้างไกลขึ้น
4.ให้เด็กได้ฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่มจากทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ขั้นกลางและขั้นสูง
5.ควรกระตุ้นและเสริมแรงเป็นระยะๆ เพื่อคงระดับความสนใจใฝ่รู้ของเด็กและช่วยให้มีความตั้งใจจริงในการพัฒนาทักษะการคิด
6.ผู้ใหญ่ควรรับฟังความคิดเห็นของเด็กด้วยความตั้งใจเพื่อเป็นการเสริมแรงให้กับเด็กอีกทางหนึ่งและเป็นแบบอย่างของนักฟังที่ดี
7.ควรใช้วิธีชี้แนะ การกระตุ้นที่เหมาะสมแทนการบอกคำตอบที่ถูกต้องทันทีทันใด
8.สร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อช่วยให้เด็กวู้สึกอบอุ่น มั่นใจและกระตือรือร้น เช่น ครูยิ้มแย้มแจ่มใส ใจดี รักเด็ก เป็นต้น
9.จัดแสดงสื่อและอุปกรณ์การคิดหลากหลายประเภทและมีปริมาณเพียงพอ เปิดโอกาสให้เด็กเข้าถึงสื่อและอุปกรณ์ได้ง่ายและสะดวก
10.จัดตกแต่งบอร์ดหรือผนังห้อง มีคำถามเตือนใจ มีที่แสดงผลงานทางความคิดของเด็ก
ความประทับใจ
ในมิติของการเป็นครูอาจารย์นั้น ความประทับใจ แตกต่างจาก ความพอใจ อย่างมีนัยสำคัญ การที่ครูจะทำให้นักเรียนรู้สึกพอใจนั้นไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ครูไม่เข้าสอนหรือเข้าสอนสาย ไม่เคี่ยวเข็ญ ไม่ให้การบ้านหรือให้เกรดดีๆ นักเรียนส่วนหนึ่งก็อาจรุ้สึกพอใจแล้ว
แต่ครูจะทำอย่างไรให้นักเรียนเกิด ความประทับใจ ซึ่งเป็นความรู้สึกที่ลึกซึ้งยิ่งกว่า
ทำอย่างไรให้ศิษย์จดจำและระลึกถึงสิ่งดีๆ ที่ครูปลูกฝังให้ไม่รู้ลืม
ทำอย่างไรให้นักเรียนจดจำว่า ครั้งหนึ่งตนเคยมีครูดีในชีวิต
และจะรู้สึกวิเศษสักเพียงใด ถ้า "ครูดี" ในนิยามของศิษย์คือเรา
จากบางตอนของบทความ "บทพิสูจน์ความเป็นครูมืออาชีพ"
โดย ผศ.ดร.ณรงค์ พุทธิชีวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชน ฉบับประจำวันอังคารที่ 19 ตุลาคม 2553
แต่ครูจะทำอย่างไรให้นักเรียนเกิด ความประทับใจ ซึ่งเป็นความรู้สึกที่ลึกซึ้งยิ่งกว่า
ทำอย่างไรให้ศิษย์จดจำและระลึกถึงสิ่งดีๆ ที่ครูปลูกฝังให้ไม่รู้ลืม
ทำอย่างไรให้นักเรียนจดจำว่า ครั้งหนึ่งตนเคยมีครูดีในชีวิต
และจะรู้สึกวิเศษสักเพียงใด ถ้า "ครูดี" ในนิยามของศิษย์คือเรา
จากบางตอนของบทความ "บทพิสูจน์ความเป็นครูมืออาชีพ"
โดย ผศ.ดร.ณรงค์ พุทธิชีวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชน ฉบับประจำวันอังคารที่ 19 ตุลาคม 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)